ชื่อวิทยาศาสตร์
Eucalyptus camaldulensis Dehnh.
ชื่อวงศ์ Myrtaceae
ชื่อสามัญ
ยูคาลิปตัส
ชื่อทางการค้า
Red
gum
ชื่อพื้นเมือง -
ไม้ยืนต้นขนาดกลาง-ใหญ่
สูง 24-30 ม. และอาจสูงได้ถึง 50 ม.
ไม่ผลัดใบ
เป็นพันธุ์ไม้โตเร็ว
ถ้าปลูกในประเทศไทยจะมีรูปทรงสูงเพรียว
ลำต้นเปลาตรงมีกิ่งก้านน้อย
รูปทรง (เรือนยอด) เป็นรูปทรงกรวยสูง
(ปลูกในประเทศไทย)
ใบ
เดี่ยว
เรียงเขียนสลับ ใบรูปหอกหรือรูปขอบขนานแกมหอก
ดอก มีขนาดเล็ก
ออกตามง่ามใบไกล้ปลายกิ่ง
เป็นช่อขนาดเล็ก
สี ขาว
กลิ่น -
ออกดอก เกือบตลอดปี
ผล เป็นแบบแห้งแข็งแล้วแตกอ้า
มีขนาดเล็ก
ภายในมีเมล็ดขนาดเล็กมาก (น้อยกว่า
1 มม.)
ผลแก่ เกือบตลอดปี
ยูคาลิปตัสเป็นพันธุ์ไม้ต่างประเทศ
มีถิ่นกำเนิดอยู่ในทวีปออสเตรเลียเป็นส่วนใหญ่
สามารถเจริญเติบโตได้ในทุกสภาพดิน
ตั้งแต่ดินทราย ดินเค็ม
ดินเปรี้ยว
แต่ไม่ทนดินที่มีหินปูนสูง
ทนต่อความแห้งแล้งได้ดี

การขยายพันธุ์และการผลิตกล้า เพาะเมล็ด
(เมล็ดยูคาลิปตัส 1 กก.
มีเมล็ดประมาณ 100,00-200,000 เมล็ด)
ปัจจัยสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการปลูก
ดิน
ทุกชนิดที่มีการระบายน้ำดี
ยกเว้นดินที่มีหินปูนหรือเป็นด่างสูง
ความชื้น
มาก-น้อย
แสง มาก
การปลูกดูแลบำรุงรักษา
การคัดเลือกพื้นที่และเตรียมพื้นที่ปลูก
-
วิธีการปลูกและระยะปลูกที่เหมาะสม
-
โรคและแมลง
-
อัตราการเจริญเติบโต
เป็นพันธุ์ไม้ที่มีการเจริญเติบโตเร็ว
การเก็บรักษา
-
การแปรรูป
ใช้เปลือกไม้บง
บดให้ละเอียดผสมขี้เลื่อยและกาว
ใช้ทำธูป และผสมกำมะัถัน
ใช้ทำยากันยุงได้ดี
ปกติจะใช้เปลือกได้เมื่ออายุ
6-7 ปี

การตลาด -
การบริโภค -
การนำเข้า -
การส่งออก -

การใช้ประโยชน์ทางด้านเนื้อไม้
เนื้อไม้มีแก่นสีน้ำตาลแดงจนถึงน้ำตาลแดง
กระพี้สีน้ำตาลอ่อน
เนื้อไม้แข็งแต่จะแตกง่ายหลังจากตัดฟันแต่ถ้าทำถูกวิธีก็สามารถนำมาใช้ก่อสร้างทำเครื่องเรือนได้
นำมาเผาถ่านซึ่งให้ความร้อนใกล้เคียงกับไม้โกงกาง
ผลิตเยื่อกระดาษ(ไม้อายุ 3-6 ปี)
หรือนำไปทำไม้อัด (ไม้อายุ 6-10
ปี)
การใช้ประโยชน์ทางด้านนิเวศน์
ในปัจจุบันยูคาลิปตัสนิยมนำมาปลูกเป็นป่าอนุรักษ์เนื่องจากปลูกง่ายโตเร็วและทนต่อสภาพแวดล้อมได้หลากหลาย
ช่วยทำให้พื้นที่แห้งแล้งมีความชุ่มชื้นขึ้น
การใช้ประโยชน์ทางด้านภูมิสถาปัตย์
-
การใช้ประโยชน์ทางด้านโภชนาการ
พื้นที่สวนป่ายูคาลิปตัสมักจะพบเห็ดยูคาลิปตัส
เวลาหลังฝนตกซึ่งสามารถนำมารับประทานได้
การใช้ประโยชน์ทางด้านสมุนไพร
-
-
|