การพยากรณ์สถานการณ์ไฟป่า

 

ประจำวันที่ 1 - 8 สิงหาคม พ.ศ. 2559

1. สภาพอากาศ
 
1.1 อุณหภูมิ
ภาค อุณหภูมิต่ำสุด (°C) อุณหภูมิสูงสุด (°C)
ภาคกลาง
25-27
32-33
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
25-27
32-33
ภาคกลาง
25-27
32-33
ภาคตะวันออก
25-27
32-33
ภาคใต้ฝั่งตะวันออก
25-27
32-33
ภาคใต้ฝั่งตะวันตก
25-27
32-33
1.2 ความชื้นสัมพัทธ์
ภาค ความชื้นสัมพัทธ์ (%)
ภาคเหนือ
80-90
ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
80-90
ภาคกลาง
75-85
ภาคตะวันออก
80-90
ภาคใต้ฝั่งตะวันออก
70-80
ภาคใต้ฝั่งตะวันตก
80-90

 

1.3 ความชื้นของเชื้อเพลิง
ในช่วงวันที่ 19-22 ก.ค. บริเวณประเทศไทยจะมีฝนเพิ่มขึ้น ละมีฝนตกหนักบางพื้นที่ในบริเวณภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคตะวันออกและภาคใต้ ส่วนในช่วงวันที่ 23-25 ก.ค. บริเวณประเทศไทยจะมีฝนลดลง ลักษณะสำคัญทางอุตุนิยมวิทยาคือ ในช่วงวันที่ 19-22 ก.ค. มรสุมตะวันตกเฉียงใต้จะยังคงพัดปกคลุมทะเลอันดามัน ภาคใต้ และอ่าวไทย ในขณะที่ลมตะวันออกเฉียงใต้จากทะเลจีนใต้พัดปกคลุมภาคตะวันออกเฉียงเหนือและภาคตะวันออก ทำให้บริเวณประเทศไทยจะมีฝนเพิ่มขึ้น กับมีฝนตกหนักบางพื้นที่

 

1.4 ปริมาณน้ำฝน
  • ภาคเหนือ  มีพายุฝนฟ้าคะนองร้อยละ 40-60 ของพื้นที่
  • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ   มีพายุฝนฟ้าคะนองร้อยละ 60-70 ของพื้นที่
  • ภาคกลาง  มีพายุฝนฟ้าคะนองร้อยละ 40-60 ของพื้นที่
  • ภาคตะวันออก   มีพายุฝนฟ้าคะนองร้อยละ 40-60 ของพื้นที่
  • ภาคใต้ฝั่งตะวันออก  มีฝนฟ้าคะนอง  ร้อยละ 40-60 ของพื้นที่
  • ภาคใต้ฝั่งตะวันตก มีพายุฝนฟ้าคะนองร้อยละ 60-70 ของพื้นที่

 

1.5 ความเร็วลม
  • ภาคเหนือ  ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม./ชม.
  • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ  ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม./ชม.
  • ภาคกลาง  ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม./ชม.
  • ภาคตะวันออก  ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม./ชม.
  • ภาคใต้ฝั่งตะวันออก  ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม./ชม.
  • ภาคใต้ฝั่งตะวันตก  ลมตะวันตกเฉียงใต้ ความเร็ว 15-30 กม./ชม.
     
     
2. ดัชนีความรุนแรงไฟ (Fire Weather Index หรือ FWI)

จากข้อมูลดัชนีความรุนแรงไฟ (Fire Weather Index) http://www2.dnp.go.th/gis/FDRS/FDRS.html
ในวันที่
18 กรกฎาคม 2559 พบว่า ภาคเหนือ ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ภาคกลาง ภาคตะวันออก และภาคใต้ของประเทศมีความเสี่ยงในการเกิดไฟป่าอยู่ในระดับ ต่ำ (Low)

     
     
     
3.การติดตามตรวจสอบสถานการณ์ไฟป่าจากดาวเทียม
การตรวจติดตามสถานการณ์ไฟป่าด้วยดาวเทียม Aqua โดยระบบ MODIS จากทางเว็บไซต์ http://rapidfire.sci.gsfc.nasa.gov/subsets/?subset=Indochina2
ในวันที่ 18 กรกฎาคม 2559
พบจุด hotspot
     
     
4. พื้นที่จังหวัดที่เสี่ยงภัยต่อการเกิดไฟป่า
  • ภาคเหนือ อุณหภูมิสูงสุดประมาณ 37 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 80-90% ดัชนีการเกิดไฟป่า (Fire Weather Index; FWI) อยู่ในระดับ ต่ำ (Low) และขอให้ระมัดระวังในการใช้ไฟ ในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงกับป่า โดยเฉพาะท้องที่ จ.เชียงใหม่ จ.เชียงราย จ.ลำพูน จ.ลำปาง จ.ตาก จ.แพร่ จ.สุโขทัย จ.พิจิตร จ.เพชรบูรณ์ และ จ.พิษณุโลก
  • ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ   อุณหภูมิสูงสุดประมาณ 38 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 80-90% ดัชนีการเกิดไฟป่า
    (
    Fire Weather Index; FWI) อยู่ในระดับ ต่ำ (Low) และขอให้ระมัดระวังในการใช้ไฟ ในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงกับป่า โดยเฉพาะท้องที่ จ.นครราชสีมา จ.ชัยภูมิ จ.ขอนแก่น จ.มหาสารคาม จ.สุรินทร์ และ จ.บุรีรัมย์
  • ภาคกลาง  อุณหภูมิสูงสุดประมาณ 37 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 75-85ดัชนีการเกิดไฟป่า (Fire Weather Index; FWI) อยู่ในระดับ ต่ำ (Low) และขอให้ระมัดระวังในการใช้ไฟ ในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงกับป่า โดยเฉพาะท้องที่ จ.ราชบุรี จ.กาญจนบุรี จ.สุพรรณบุรี จ.ชัยนาท จ.นครสวรรค์ จ.อุัทัยธานี จ.ลพบุรี จ.สระบุรี และ จ.อ่างทอง
  • ภาคตะวันออก  อุณหภูมิสูงสุดประมาณ 37 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 80-90% ดัชนีการเกิดไฟป่า
    (
    Fire Weather Index; FWI) อยู่ในระดับ ต่ำ (Low) และขอให้ระมัดระวังในการใช้ไฟ ในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงกับป่า โดยเฉพาะท้องที่ จ.นครนายก จ.ปราจีนบุรี จ.ฉะเชิงเทรา จ.ชลบุรี และ จ.ระยอง
  • ภาคใต้ฝั่งตะวันออก   อุณหภูมิสูงสุดประมาณ 37 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 70-80% ดัชนีการเกิดไฟป่า
    (Fire Weather Index; FWI) อยู่ใน
    ระดับ ต่ำ (Low) และขอให้ระมัดระวังในการใช้ไฟ ในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงกับป่า   โดยเฉพาะท้องที่ จ.เพชรบุรี จ.ประจวบคีรีขันธ์ จ.ชุมพร จ.สุราษฎร์ธานี และ จ.นครศรีธรรมราช
  • ภาคใต้ฝั่งตะวันตก  อุณหภูมิสูงสุดประมาณ 36 องศาเซลเซียส ความชื้นสัมพัทธ์ 80-90% ดัชนีการเกิดไฟป่า
    (
    Fire Weather Index; FWI) อยู่ในระดับ ต่ำ (Low) และขอให้ระมัดระวังในการใช้ไฟ ในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงกับป่า โดยเฉพาะ ท้องที่ จ.พังงา จ.กระบี่ จ.ตรัง และ จ.สตูล